ประเภทของกล้วย
กล้วย ทั่วโลกมีกล้วยอยู่ประมาณ 200-300 ชนิด สำหรับชนิดของกล้วยที่มีในประเทศไทยนั้นได้เก็บรวบรวมพันธุ์ไว้เมื่อปี พ.ศ.2524 ชึ่งแบ่งออกเป็น 5 กลุ่มดังนี้
1. กล้วยป่าออร์นาตา ปลูกกันแถบภาคเหนือ นิยมเรียก “กล้วยบัว” หรือ บางท้องถิ่นเรียกว่า “กล้วยป่า” (ลำปาง)
2. กล้วยป่าอะคิวมินาตา กล้วยในกลุ่มนี้มีแพร่หลายในประเทศไทย แต่ละถิ่นอาจเรียกชื่อต่างกัน เช่น ที่จังหวัดสงขลา เรียก “กล้วยทอง” ที่จังหวัดแพร่ จังหวัดอุตรดิตถ์และจังหวัดลำปาง เรียก “กล้วยแข”
3. กล้วยในสายพันธุ์อะคิวมินาตา คัลทิฟาร์ กล้วยในกลุ่มนี้ มีหลายชนิด ได้แก่
กล้วยเล็บมือนาง ปลูกกันมากในภาคใต้ บางท้องถิ่น เช่น จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก “กล้วยหมาก” จังหวัดพัทลุง เรียก “กล้วยทองหมาก” ส่วนจังหวัดนครสวรรค์ เรียก “กล้วยเล็บมือ” กล้วยทองร่วง ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก “กล้วยไข่ทองร่วง” ที่จังหวัดสงขลา เรียก “ค่อมเบา”
กล้วยไข่ ปลูกกันทั่วไป ที่จังหวัดสุรินทร์ เรียก “เจ็กบง”
กล้วยหอม ปลูกในสวนหลังบ้านแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กล้วยหอมทองสาน ปลูกมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กล้วยสา ปลูกกันมากภาคใต้
กล้วยนมสาว ปลูกกันมากภาคใต้
กล้วยลาย ปลูกกันมากภาคใต้
กล้วยทองกาบดำ ปลูกกันมากภาคใต้เช่นกัน
กล้วยนาก กล้วยชนิดนี้มีการเรียกต่างกันหลายแห่ง ที่จังหวัดพะเยาและจังหวัดแพร่ เรียก “กล้วยน้ำครั่ง” จังหวัดนครศรีธรรมราชเรียก “กล้วยกุ้ง” ส่วนที่จังหวัดสุรินทร์ เรียก “กล้วยครั่ง”
กล้วยหอมทอง ที่จังหวัดจันทบุรี เรียก “หอมทอง” นิยมรับประทานสดมากที่สุด
กล้วยหอมเขียว ที่จังหวัดแพร่ เรียกกล้วยคร้าว จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก “กล้วยเขียวคอหักหรือกล้วยเขียว” ส่วนที่จังหวัดพะเยา เรียก “กล้วยหอมคร้าว”
กล้วยกุ้งเขียว เป็นลูกผ่าเหล่าของกล้วยนาก ที่จังหวัดแพร่ เรียก “กล้วยหอมทอง”
กล้วยหอมค่อม ที่จังหวัดพัทลุง และจังหวัดอุบลราชธานี เรียก “กล้วยเตี้ย” จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก
กล้วยไข่บอง ที่จังหวัดนครราชสีมา เรียก “กล้วยไข่พระตะบอง”
กล้วยดอกไม้ เมื่อสุกผลจะเป็นสีทอง จัดอยู่พวกเดียวกับกล้วยหอมทอง
กล้วยเล็บมือนาง ปลูกกันมากในภาคใต้ บางท้องถิ่น เช่น จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก “กล้วยหมาก” จังหวัดพัทลุง เรียก “กล้วยทองหมาก” ส่วนจังหวัดนครสวรรค์ เรียก “กล้วยเล็บมือ” กล้วยทองร่วง ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก “กล้วยไข่ทองร่วง” ที่จังหวัดสงขลา เรียก “ค่อมเบา”
กล้วยไข่ ปลูกกันทั่วไป ที่จังหวัดสุรินทร์ เรียก “เจ็กบง”
กล้วยหอม ปลูกในสวนหลังบ้านแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กล้วยหอมทองสาน ปลูกมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
กล้วยสา ปลูกกันมากภาคใต้
กล้วยนมสาว ปลูกกันมากภาคใต้
กล้วยลาย ปลูกกันมากภาคใต้
กล้วยทองกาบดำ ปลูกกันมากภาคใต้เช่นกัน
กล้วยนาก กล้วยชนิดนี้มีการเรียกต่างกันหลายแห่ง ที่จังหวัดพะเยาและจังหวัดแพร่ เรียก “กล้วยน้ำครั่ง” จังหวัดนครศรีธรรมราชเรียก “กล้วยกุ้ง” ส่วนที่จังหวัดสุรินทร์ เรียก “กล้วยครั่ง”
กล้วยหอมทอง ที่จังหวัดจันทบุรี เรียก “หอมทอง” นิยมรับประทานสดมากที่สุด
กล้วยหอมเขียว ที่จังหวัดแพร่ เรียกกล้วยคร้าว จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก “กล้วยเขียวคอหักหรือกล้วยเขียว” ส่วนที่จังหวัดพะเยา เรียก “กล้วยหอมคร้าว”
กล้วยกุ้งเขียว เป็นลูกผ่าเหล่าของกล้วยนาก ที่จังหวัดแพร่ เรียก “กล้วยหอมทอง”
กล้วยหอมค่อม ที่จังหวัดพัทลุง และจังหวัดอุบลราชธานี เรียก “กล้วยเตี้ย” จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก
กล้วยไข่บอง ที่จังหวัดนครราชสีมา เรียก “กล้วยไข่พระตะบอง”
กล้วยดอกไม้ เมื่อสุกผลจะเป็นสีทอง จัดอยู่พวกเดียวกับกล้วยหอมทอง
4. กล้วยป่าบาลบิเชียน่า นิยมเรียก “กล้วยตานี” มีแพร่หลายทั่วประเทศไทย ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก “กล้วยพองลา” ส่วนที่จังหวัดแพร่และจังหวัดลำปาง เรียก “กล้วยป่า”
5. กล้วยลูกผสมอะคิวมินาตากับบาลบิเชียน่า กล้วยในกลุ่มนี้ มีหลายชนิด ได้แก่
กล้วยลังกา ที่จังหวัดพัทลุง เรียก “กล้วยจีน”
กล้วยเงิน เป็นกล้วยที่หาพันธุ์ยาก มีเฉพาะที่จังหวัดสงขลา
กล้วยน้ำพัด ที่จังหวัดจันทบุรี เรียก “กล้วยน้ำกาบดำ”
กล้วยทองเดช มีการปลูกมากในจังหวัดสงขลา
กล้วยนางนวล มีการปลูกมากในจังหวัดสงขลา
กล้วยไข่โบราณ มีเฉพาะที่จังหวัดตราด เป็นกล้วยที่หาพันธุ์ยากเช่นกัน
กล้วยน้ำ มีหลายถิ่นเรียกต่างกัน ที่จังหวัดนครนายก เรียก “กล้วยหอมนางนวล” จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก “กล้วยแก้ว” จังหวัดสกลนายกและจังหวัดชัยภูมิ เรียก “กล้วยหอม” จังหวัดยโสธร เรียก “กล้วยหอมเล็ก” และที่จังหวัดกาฬสินธุ์ เรียก “กล้วยหอมจันทร์”
กล้วยขม เป็นกล้วยที่มีรสขมเช่นเดียวกับ ชื่อ ปลูกมากที่ภาคใต้
กล้วยขมนาก ปลูกมากแภบภาถใต้
กล้วยร้อยหวี หรือ กล้วยงวงช้าง ถิ่นกำเนิดอยู่ที่ประเทศอินโดนีเซีย นิยมเป็นไม้ประดับ
กล้วยนมหมี ที่จังหวัดอ่างทอง เรียก “กล้วยแหกคุก”
กล้วยปลวกนา มีการปลูกมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดนครนายก เรียก “กล้วยน้ำไทย” จังหวัดยโสธร เรียก “กล้วยส้ม” และจังหวัดอุบลราชธานี เรียก “กล้วยทิพย์ใหญ่”
กล้วยน้ำว้า ปลูกกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย ที่จังหวัดแพร่ เรียก “กล้วยน้ำว้าเหลือง” จังหวัดเชียงราย เรียก “กล้วยใต้”
กล้วยน้ำว้าค่อม มีลักษณะแคระ กลายพันธุ์มาจากกล้วยน้ำว้า
กล้วยน้ำว้าขาว เนื้อของผลมีสีขาว กลายพันธุ์มาจากกล้วยน้ำว้า
กล้วยน้ำว้าแดง เนื้อของผลมีสีแดง กลายพันธุ์มาจากกล้วยน้ำว้าเช่นกัน บางทีเรียกต่างกัน ที่จังหวัดชัยภูมิ เรียก “กล้วยอ่อง” จังหวัดนครสวรรค์ เรียก “กล้วยสุกไสแดง” ส่วนจังหวัดแพร่ เรียก “กล้วยน้ำว้าในออก”
กล้วยเทพรส ที่จังหวัดเชียงราย เรียก “กล้วยทิพย์คุ้ม”
กล้วยพญา มีการปลูกมากในจังหวัดสงขลา
กล้วยส้ม ที่จังหวัดจันทบุรี เรียก “กล้วยหักมุก”
กล้วยลังกา ที่จังหวัดพัทลุง เรียก “กล้วยจีน”
กล้วยเงิน เป็นกล้วยที่หาพันธุ์ยาก มีเฉพาะที่จังหวัดสงขลา
กล้วยน้ำพัด ที่จังหวัดจันทบุรี เรียก “กล้วยน้ำกาบดำ”
กล้วยทองเดช มีการปลูกมากในจังหวัดสงขลา
กล้วยนางนวล มีการปลูกมากในจังหวัดสงขลา
กล้วยไข่โบราณ มีเฉพาะที่จังหวัดตราด เป็นกล้วยที่หาพันธุ์ยากเช่นกัน
กล้วยน้ำ มีหลายถิ่นเรียกต่างกัน ที่จังหวัดนครนายก เรียก “กล้วยหอมนางนวล” จังหวัดนครศรีธรรมราช เรียก “กล้วยแก้ว” จังหวัดสกลนายกและจังหวัดชัยภูมิ เรียก “กล้วยหอม” จังหวัดยโสธร เรียก “กล้วยหอมเล็ก” และที่จังหวัดกาฬสินธุ์ เรียก “กล้วยหอมจันทร์”
กล้วยขม เป็นกล้วยที่มีรสขมเช่นเดียวกับ ชื่อ ปลูกมากที่ภาคใต้
กล้วยขมนาก ปลูกมากแภบภาถใต้
กล้วยร้อยหวี หรือ กล้วยงวงช้าง ถิ่นกำเนิดอยู่ที่ประเทศอินโดนีเซีย นิยมเป็นไม้ประดับ
กล้วยนมหมี ที่จังหวัดอ่างทอง เรียก “กล้วยแหกคุก”
กล้วยปลวกนา มีการปลูกมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดนครนายก เรียก “กล้วยน้ำไทย” จังหวัดยโสธร เรียก “กล้วยส้ม” และจังหวัดอุบลราชธานี เรียก “กล้วยทิพย์ใหญ่”
กล้วยน้ำว้า ปลูกกันอย่างแพร่หลายในประเทศไทย ที่จังหวัดแพร่ เรียก “กล้วยน้ำว้าเหลือง” จังหวัดเชียงราย เรียก “กล้วยใต้”
กล้วยน้ำว้าค่อม มีลักษณะแคระ กลายพันธุ์มาจากกล้วยน้ำว้า
กล้วยน้ำว้าขาว เนื้อของผลมีสีขาว กลายพันธุ์มาจากกล้วยน้ำว้า
กล้วยน้ำว้าแดง เนื้อของผลมีสีแดง กลายพันธุ์มาจากกล้วยน้ำว้าเช่นกัน บางทีเรียกต่างกัน ที่จังหวัดชัยภูมิ เรียก “กล้วยอ่อง” จังหวัดนครสวรรค์ เรียก “กล้วยสุกไสแดง” ส่วนจังหวัดแพร่ เรียก “กล้วยน้ำว้าในออก”
กล้วยเทพรส ที่จังหวัดเชียงราย เรียก “กล้วยทิพย์คุ้ม”
กล้วยพญา มีการปลูกมากในจังหวัดสงขลา
กล้วยส้ม ที่จังหวัดจันทบุรี เรียก “กล้วยหักมุก”
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น